The Fact About เว็บเกษตร That No One Is Suggesting

ปุ๋ยหมัก หมายถึง ปุ๋ยที่ต้องผ่านกระบวนการหมักก่อนนำไปใช้งาน ด้วยการนำวัสดุเหลือใช้ที่เป็นสารอินทรีย์มาหมักจนกว่าจุลินทรีย์จะทำงานเสร็จสิ้น แล้วได้เป็นปุ๋ยที่มีความทนทานต่อการย่อยสลายเพิ่มขึ้น ธาตุอาหารในปุ๋ยหมักก็จะแตกต่างกันไปตามแต่วัสดุที่เราเลือกใช้ เช่น ถ้าใช้ฟางข้าวมาหมักก็จะได้ปุ๋ยที่มีโพแทสเซียมสูง ถ้าใช้ซังข้าวโพดมาหมักก็จะได้ปุ๋ยที่มีไนโตรเจนสูง เป็นต้น กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้แนะนำถึงลักษณะของปุ๋ยหมักที่ดีเอาไว้ว่า ต้องมีเนื้อสัมผัสอ่อนนุ่ม เปื่อยยุ่ย และมีสีน้ำตาลปนดำ ข้อดีที่โดดเด่นของปุ๋ยหมักก็คือการปรับสภาพดินให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืช เนื้อดินจะมีความร่วนซุยและมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น แบคทีเรียชนิดดีที่อยู่ในดินก็จะเพิ่มปริมาณขึ้นด้วย แต่ข้อเสียคือต้องมีความเข้าใจถึงวิธีการทำและใส่ใจดูแลตลอดระยะเวลาหมัก จึงจะได้ปุ๋ยที่มีคุณภาพตามต้องการ

ส่วนผสมของเชื้อราไตรโคเดอร์มาที่ผสมพร้อมใช้แล้ว ควรใช้ให้หมดในคราวเดียว

เชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดผงสปอร์แห้ง

ใช้ใส่ลงในดินโดยตรง – โดยมักจะใช้งานผ่านปุ๋ยรูปแบบเม็ด โดยสามารถใช้มือหว่านได้โดยตรง หรือ อาจใช้การหว่านผ่านเครื่องหว่านปุ๋ย หรือ รถหว่านปุ๋ยก็ได้เช่นกัน

ขั้นตอนและวิธีการผลิตเชื้อราไตรโคเดอร์มาชนิดสด

ในพืชผักหรือพืชอายุสั้น ควรใช้เชื้อราไตรโคเดอร์มาทุกครั้งที่ปลูก สำหรับพืชผักที่ให้ผล เช่น พริก มะเขือ พืชตระกูลแตงต่างๆควรใส่อีกครั้งในระยะเริ่มติดผล

ข้อดี / ข้อเสีย ของปุ๋ยอินทรีย์ ข้อดีของปุ๋ยอินทรีย์: มีปริมาณอินทรีย์วัตถุสูง ช่วยเติมความสมบูรณ์ให้ดิน ช่วยให้พืชสามารถกินปุ๋ยได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช กองวิจัยพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืช

ศูนย์วิจัยและพัฒนาเมล็ดพันธุ์พืชสุราษฏร์ธานี

ในบทความนี้ ทางเกษตรเลิฟจะพามาทำความรู้จักกับเจ้าเชื้อราไตรโคเดอร์มาให้มากขึ้น ข้อดี ข้อเสีย ของเชื้อในรูปแบบต่างๆ รวมข้อจำกัดของไตรโคเดอร์มา เพื่อให้เราได้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพมากที่สุดนั้นเอง

ข้อเสียของปุ๋ยเคมี: เนื่องจากเป็นปุ๋ยที่สกัดมาให้มีความเข้มข้นของธาตุอาหารที่สูง หากใช้งานอย่างไม่ถูกต้อง อาจเกินความจำเป็น ก่อให้เกิดเป็นการสูญเสีย และ มลพิษได้ และ หากใช้งานเพียงอย่างเดียวโดยไม่ใช้ควบคู่กับปุ๋ยอินทรีย์ หรือ ปุ๋ยชีวภาพ ก็อาจทำให้สภาพดินค่อยๆเสื่อมลงในระยะยาว ทำให้พืชไม่สามารถกินปุ๋ยได้เต็มที่

ปุ๋ยคอกจากมูลสัตว์ เช่น มูลวัว มูลค้างคาว มูลไส้เดือน มูลไก่ more info หรือ อื่นๆ

วัสดุปลูก และ สารปรับปรุงดิน พีทมอสคลาสแมน

ปุ๋ยคอก หมายถึง ปุ๋ยจากมูลสัตว์ที่มีคุณภาพในแง่ของการให้แร่ธาตุอันเป็นประโยชน์ต่อพืช โดยวัดจากอาหารที่สัตว์เหล่านั้นกินเข้าไปเป็นประจำ เมื่อประเภทของอาหารที่ต้องการและกลไกภายในร่างกายของสัตว์แต่ละชนิดแตกต่างกัน แร่ธาตุที่ได้จากมูลสัตว์จึงแตกต่างกันด้วย เช่น มูลโคจะมีธาตุไนโตรเจนสูงกว่าธาตุชนิดอื่น ขณะที่มูลสุกรจะมีธาตุฟอสฟอรัสสูงกว่า เป็นต้น การใช้ปุ๋ยคอกจะให้ผลดีในระยะยาว ไม่ใช่แค่ช่วยเพิ่มธาตุอาหารที่ดีให้กับดินเท่านั้น แต่ยังปรับสภาพดินเดิมให้ดีขึ้นทั้งด้านกายภาพและชีวภาพ จากดินเหนียวแน่นก็จะร่วนซุยและระบายอากาศได้ดีขึ้น ส่วนข้อเสียก็จะเป็นเรื่องของการสลายตัวอย่างรวดเร็วของธาตุอาหาร เราจึงต้องใส่ใจในการเก็บรักษาและควรรีบนำไปใช้งานในช่วงที่ปุ๋ยยังสดใหม่อยู่

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *